Page 10 - แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะยาว 10 ปี
P. 10

บทที่ 2

                                         สภำวกำรณ์กำรศึกษำไทยในเวทีโลก


                                  และกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมของมหำวิทยำลัย

                       ในการจัดท าแผนพัฒนามหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ระยะยาว 10 ปี (พ.ศ. 2562 – 2571) คณะท างานได้

               พัฒนาแนวทางตามนโยบายของมหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ (RPU. 4.0), แผนปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน, ยุทธศาสตร์
               ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580),  มาตรฐานการอดมศึกษา พ.ศ. 2561, แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี
                                                           ุ
               (พ.ศ. 2560 – 2579), ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) และโมเดล

               ขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Thailand 4.0) นอกจากนี้ได้ท าสรุปประเด็นส าคัญมีผล
               ต่อการพัฒนามหาวิทยาลัยในอนาคต จากข้อมูลสภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก พ.ศ. 2559/2560    ของ

               ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

               กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) และท าการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพของมหาวิทยาลัย โดยประเมิน
               ทั้งสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้



               2.1 สภำวกำรณ์กำรศึกษำไทยในเวทีโลก พ.ศ. 2559/2560
                       จากข้อมูลสภาวการณ์การศึกษาไทยในเวทีโลก พ.ศ. 2559/2560 ของส านักงานเลขาธิการสภา

               การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560) ได้สรุป

               สาระส าคัญไว้ดังนี้
                              1. ด้ำนประชำกรกับกำรศึกษำ ในปีพ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีประชากรวัยแรงงานอายุ 25

               ปีขึ้นไป ส าเร็จการศึกษาต่ าที่สุดในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย เฉลี่ยร้อยละ 41 และ

               29 ตามล าดับ ส่วนประชากรที่มีการศึกษาถึงระดับอดมศึกษาของไทยอยู่ที่ร้อยละ 17 แต่เนื่องมาจากภาวะ
                                                            ุ
               เจริญพันธุ์ที่ลดต่ าลงและคนไทยมีชีวิตยืนยาวขึ้น ผู้สูงอายุมากขน ซึ่งเป็นไปตามอายุขัยเฉลี่ย ของประชากรที่มี
                                                                   ึ้
               แนวโน้มเพมขึ้นทุกภูมิภาคทั่วโลก จากข้อมูล พ.ศ. 2553 พบว่า ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) มีมากถึงร้อยละ 13.2
                         ิ่
                                                                                                      ิ่
                                                      ิ่
               ของจ านวนประชากรทั้งหมด และมีแนวโน้มเพมขึ้นเป็น ร้อยละ 19.1 ใน พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นจ านวนที่เพมขึ้น
               จาก พ.ศ. 2553 เกือบ 6 เท่า ท าให้ประเทศไทยก าลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โครงสร้างอายุของ
               ประชากรเปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ชัดเจน ซึ่งส่งผลทั้งทางบวกและ ทางลบ ผลกระทบทางบวกคือสังคมไทย

               จะมผู้ที่มีประสบการณ์ช่วยเหลือสังคมมากขน ส่วน ผลกระทบทางลบคือ มีภาระในการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขนทั้ง
                                                    ึ้
                   ี
                                                                                                      ึ้
                                                                            ่
               ด้านสังคม สุขภาพอนามัย และด้าน การศึกษา โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ยังอานไม่ออกและเขียนไม่ได้ (ส านักงาน
               เลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560)















               แผนพัฒนามหาวิทยาลัยราชพฤกษ์  ระยะยาว 10 ปี (RPU PLAN 2562 – 2571)                     หน้า 7
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15