Page 12 - แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะยาว 10 ปี
P. 12

ี
                              3. ด้ำนเทคโนโลยีกับกำรศึกษำ ประเทศไทยมีการใช้สื่อและเทคโนโลยี เพยงร้อยละ 39.3
                                                      ั
               จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2557 ขณะที่ประเทศที่พฒนาแล้วส่วนใหญ่ใช้อนเทอร์เน็ตมากเกินกว่าร้อยละ 80 ส่วน
                                                                         ิ
               อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ไทยใช้เพียง 9.2 คนต่อประชากร 100 คน ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ส่วนใหญ่ใช้
               อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงมากเกินกว่า 40 คนต่อประชากร 100 คน ส าหรับโทรศัพท์ เคลื่อนที่ไทยมีอัตราการใช้

               ที่ค่อนข้างสูงใกล้เคียงประเทศที่พฒนาแล้ว คือ 75.3 คนต่อประชากร 100 คน ดังนั้นการเรียนรู้ในโลกยุค
                                            ั
               ปัจจุบันจึงเป็นการเชื่อมต่อด้วยระบบเครือข่ายสามารถเชื่อมต่อกันเป็นระบบ กลายเป็นแหล่งทรัพยากรการ

               เรียนรู้ที่กว้างขวางและรู้เท่าทันเหตุการณ์ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทุกมุมโลก (ส านักงานเลขาธิการสภา

               การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560)
                              4. ด้ำนกำรเข้ำถึงโอกำส ควำมเท่ำเทียม และคุณภำพกำรศึกษำ อตราการเข้าเรียนของ
                                                                                        ั
                                ุ
                                                                      ื่
               ประเทศไทย ระดับอดมศึกษาอยู่ที่ร้อยละ 53 ซึ่งสูงกว่าประเทศเพอนบ้านทุกประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน
               ดังนั้นการให้โอกาสในการได้เข้าศึกษาของประชากร จึงเป็นการสร้างโอกาส ความเท่าเทียม และความเสมอ
               ภาคในการเข้าถึงการศึกษาอย่างมีคุณภาพ (ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560)



               2.2 ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
                                                 ั่
                       1. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนควำมมนคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่ส าคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชน
               มีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย

               และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติสังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี
               และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม และภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุก

               ระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา ด้านความมั่นคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะ

               เกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และ
                                                                              ื้
                                             ื่
                                                                                                        ื่
               องค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพอนบ้าน และมิตรประเทศทั่วโลกบนพนฐานของหลักธรรมาภิบาล เพอ
               เอออานวยประโยชน์ต่อการด าเนินการ ของยุทธศาสตร์ชาติด้านอน ๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตามทิศทาง

                                                                      ื่
                 ื้
               และเป้าหมายที่ก าหนด
                                                                                           ั
                       2. ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน มีเป้าหมายการพฒนาที่มุ่งเน้นการ
               ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่

                              1. “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณวัฒนธรรม ประเพณีวิถี
                                                                                       ์
               ชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ใน

                                                                        ื่
                    ื่
               ด้านอน ๆ น ามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพอให้สอดรับกับบริบทของ เศรษฐกิจและ
               สังคมโลกสมัยใหม่
                                                                       ั
                              2. “ปรับปัจจุบัน” เพอปูทางสู่อนาคต ผ่านการพฒนาโครงสร้าง พนฐานของประเทศในมิติ
                                                                                      ื้
                                                ื่
               ต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการ
                                                               ื้
               ปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต







               แผนพัฒนามหาวิทยาลัยราชพฤกษ์  ระยะยาว 10 ปี (RPU PLAN 2562 – 2571)                     หน้า 9
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17