Page 21 - รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปีการศึกษา 2564
P. 21

ภำพที่ 1: กำรวิเครำะห์ TOWS Matrix

                                     จากการวิเคราะห์ประเมินสภาพแวดล้อม จุดอ่อน (Weakness) จุดแข็ง (Strength) โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) จึงน าข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ใน

                              รูปแบบความสัมพันธ์โดยพิจารณาประเด็น SWOT Analysis ที่ส าคัญ โดยอาศัยเทคนิคแบบTOWS Matrix มาใช้วิเคราะห์ประเด็นที่ส าคัญ ดังต่อไปนี้

                                                                       ปัจจัยภำยใน  จุดแข็ง (Strengths)                                        จุดอ่อน (Weaknesses)
                                                                              1. มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรที่ทันสมัยทันกับการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี และได้รับการรับรองมาตรฐานจากสภาวิชาชีพทุกหลักสูตร  1. จ านวนนิสิตที่เข้าร่วมการศึกษาเชิงบูรณาการกับการท างาน (Cooperative and Work Integrated
                                                                              2. มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรระยะสั้น ระยะยาว และการจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการท างาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) ที่มีความตก Education: CWIE) มีน้อย
                                                                              ลงร่วมมือกับเครือข่ายทางวิชาการทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ      2. มหาวิทยาลัยยังไม่มีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศในด้านการพัฒนาหลักสูตรแบบ Joint
                                                                              3. มหาวิทยาลัยมีการสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศทั้งภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 (ภาษาจีน)  Degree และ Double Degree
                                                                              4. มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก เช่น สภาวิชาชีพ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน ภาคีเครือข่ายพัฒนาชุมชน  เพื่อร่วมมือในการจัดกิจกรรมตามพันธกิจ 3. มหาวิทยาลัยไม่มีเครือข่ายความร่วมกับวารสารระดับนานาชาติที่สามารถส่งบทความตีพิมพ์ได้
                                                                              ของมหาวิทยาลัยทั้งด้านการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น การส่งเสริม สืบสาน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม  4. การบริการวิชาการภายนอกมหาวิทยาลัยในลักษณะแบบหารายได้มีน้อย
                                                                              5. มหาวิทยาลัยมีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะทางด้านภาษาอังกฤษอย่างสม่ าเสมอ เช่น การจัดอบรมความรู้ด้านภาษาอังกฤษให้แก่ คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ และการทดสอบ 5. กิจกรรมการพัฒนานิสิตทางด้านภาษาอังกฤษมีน้อย
                                                                              ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในการท างาน (Test of English Communication in the Workplace : TEC-W) เพื่อยกระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษของบุคลากร
                                                                              6. มหาวิทยาลัยพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน และช่วยเหลือบุคลากรในการต าแหน่งทางวิชาการการศึกษาต่อในระดับที่สูงกว่าอย่างต่อเนื่องและเ ป็นรูปธรรม
                                                                              7. มหาวิทยาลัยให้การส่งเสริม สนับสนุน และฝึกอบรมให้บุคลากรจัดท างานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน การท างาน ชุมชน สัง คมท้องถิ่น และประเทศชาติอย่างแท้จริง
                                                                              8. อาจารย์ที่มีคุณวุฒิ มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ตรงในสาขาวิชาที่เปิดสอนตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และเกณฑ์มาตรฐาน สภาวิชาชีพ
                                                                              9. มหาวิทยาลัยมีระบบส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน และการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ผ่านระบบออนไลน์ และจัด การเรียนการสอน
                                                                              ออนไลน์ในรูปแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต Thai MOOC (Thailand Massive Open Online Course) และ Google Classroom เพื่อพัฒนาให้มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองได ้
                                                                              ตลอดเวลา
                                                                              10. มหาวิทยาลัยมีการจัดท าระบบเทคโนโลยีและแอปพลิเคชัน (Application) และโครงการสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีเครือข่ายต่าง ๆ ที่เอื้อประโยชน์ต่อการท างานของผู้บริหาร
                                                                              คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ เช่น  ระบบโปรแกรม BUSINESS PLUS ระบบคลังข้อมูลประกันคุณภาพ ระบบการรับสมัครเรียนแบบออนไลน์ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบ RPU PLAN และ
                                                                              การขยายแบนด์วิดท์ (Bandwidth) ฯลฯ
                                                                              11. มหาวิทยาลัยมีบัณฑิตที่ผ่านการสอบสมรรถนะทางวิชาชีพ และมีความรู้ความสามารถทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานและสถานประกอบ การ (อ้างอิงจาก ผล
                                                                              การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ปีการศึกษา 2563 มีคะแนน 4.37 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)
                                                                              12. มหาวิทยาลัยมีสัดส่วนของอาจารย์ต่อนิสิตเป็นไปตามหลักเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาท าให้สามารถดูแลและให้ค าปรึกษานิสิตได้อย่างทั่วเต็มที่และทั่วถึง
                                                                              13. มหาวิทยาลัยส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพทางด้านกีฬาให้แก่นิสิตท าให้สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยและประเทศได้อย่าง ต่อเนื่อง
                                 ปัจจัยภำยนอก                                 14. มหาวิทยาลัยมีนิสิตปัจจุบันและศิษย์เก่าที่มีความรู้และมีชื่อเสียงได้รับการยอมรับจากบุคคลภายนอก
                               โอกำส (Opportunities)                          แนวทำงเชิงรุก (SO)                                               แนวทำงเชิงแก้ไข (WO)
                               1. รัฐบาลให้ความส าคัญด้านการศึกษาโดยก าหนดไว้ในแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ท าให้มหาวิทยาลัยสามารถยกระดับคุณภาพ   1. พัฒนาหลักสูตรที่สามารถรองรับความต้องการที่หลากหลายของผู้เรียน (S2, O2)  1. มหาวิทยาลัยให้ความรู้ผ่านการประชาสัมพันธ์เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจในรูปแบบการศึกษาเชิงบูรณาการ
                               เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ลดความเหลื่อมล้ าตามเป้าหมายที่รัฐบาลก าหนดไว้ได้อย่างมีมาตรฐาน  2. มหาวิทยาลัยส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนในระยะสั้นและระยะยาว กิจกรรมพัฒนานิสิตสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณา  กับการท างาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) (W1, O2, O7)
                               2. รัฐบาลมีนโยบายในการเพิ่มสัดส่วนการศึกษาต่ออาชีวศึกษา เป็นโอกาสให้มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรที่จะรองรับกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว การกับการท างาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน ผ่านความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน สภาวิชาชีพต่าง ๆ   2. มหาวิทยาลัยให้ความรู้และพัฒนาทักษะให้แก่อาจารย์เพื่อให้สามารถตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารระด
                               3. หน่วยงานภาครัฐ สภาวิชาชีพ ภาคประชาชน บริษัทเอกชนและสถานประกอบการภายนอกมหาวิทยาลัย ให้ความร่วมมือกับ  เพื่อให้นิสิตและบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมีทักษะที่จ าเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 มีความเชี่ยวชาญและสมรรถนะเชิงวิชาชีพตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน เป็นก าลังหลักในการ  นานาชาติได้ (W3, O8)
                               มหาวิทยาลัย ในการพัฒนาด้านวิชาการ การฝึกงาน/การฝึกสหกิจศึกษา/การศึกษาเชิงบรูณาการกับการท างาน การจัดกิจกรรมนิสิต และ พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้แก่สังคมและประเทศชาติต่อไป (S1, S2, S9, O3, O8)
                               การจัดกิจกรรมเชิงสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพของนิสิตและสร้างความเข้มแข็งให้สังคมและประเทศชาติ  3. พัฒนาความร่วมมือทางด้านการวิจัย การบริการวิชาการ การท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมกับหน่วยงานภายนอก ทั้งในรูปแบบการสร้างความสัมพันธ์แล ะแบบหารายได้เพิ่ม (S4, O3, O5)
                               4. มหาวิทยาลัยในต่างประเทศให้ความสนใจและเปิดโอกาสในการสร้างความร่วมมือทางด้านวิชาการและด้านอื่น ๆ มากขึ้น  4. มหาวิทยาลัยสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาอังกฤษเพื่อร่วมพัฒนากิจกรรมสร้างทักษะทางภา ษาให้แก่นิสิตมากขึ้น (S2, S3, O3,
                               5. มหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐ และเอกชนในประเทศมีจ านวนมาก เป็นโอกาสในการสร้างความร่วมมือหรือ สร้างเครือข่าย เพื่อพัฒนาและเพิ่ม O4)
                               ศักยภาพทางด้านวิชาการ ด้านการวิจัย และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาจารย์และนิสิต  5. มหาวิทยาลัยจัดและส่งเสริมให้คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ เข้าร่วมกิจกรรมและการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะที่มีความจ าเป็นต่อการท างาน เช่น ภาษาอังกฤษ ฯลฯ การจัดท างานวิจัยที่เป็น
                               6. การพัฒนาของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความหลากหลาย ท าให้ผู้ใช้งานภายนอกมหาวิทยาลัยสามารถเข้าถึงข้อมูลของมหาวิทยาลัยได้ง่าย  ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน ชุมชน สังคมท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง (S5, S7, O5)
                               มากขึ้น เช่น การประชาสัมพันธ์การรับสมัคร การเผยแพร่ข้อมูลความรู้ต่าง ๆ เป็นต้น  6. พัฒนาเทคโนโลยีและดิจิทัลที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนและการท างานอย่างต่อเนื่อง เช่น จัดท า MOOC (Massive Open Online Course) ในทุกรายวิชา และพัฒนาระบบ
                               7. รัฐบาลเล็งเห็นความส าคัญของการศึกษา โดยก าหนดเป็นแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพ ลดความเลื่อมล้ าทาง บริหารจัดการภายในส านักและหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย (S8, S9, O6)
                                                                                                                 ์
                               การศึกษา สร้างโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาของประชาชนได้ง่ายมากยิ่งขึ้น เช่น การกู้ยืมเพื่อการศึกษา(กยศ.) กองทุนเพื่อการศึกษาที่ผูก 7. จัดหาอุปกรณ์เพื่ออ านวยความสะดวกต่อการจัดการเรียนการสอนในราคาที่ย่อมเยาว์ให้แก่อาจารย และนิสิต (S9, O1, O6)
                               กับรายได้ในอนาคต (กรอ.) ทุนการศึกษาจากโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ โครงการทุนอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาจังหวัด  8. พัฒนาระบบการบริการดูแลติดตาม และสวัสดิการนิสิตเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ท าให้นิสิตสามารถเข้าถึงรัฐสวัสดิการต่าง ๆ และมีชีวิตควา มเป็นอยู่ที่ดีมีความสุขทั้งภายในและ
                               ชายแดนภาคใต้ ฯลฯ                               ภายนอกมหาวิทยาลัยอยู่เสมอ (S12, O1, O7)
                               8. กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มีนโยบายและสนับสนุนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทักษะที่จ าเป็นของโลก
                               ศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวิจัยและองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรม
                               อุปสรรค (Threats)                              แนวทำงเชิงป้องกัน (ST)                                           แนวทำงเชิงรับ (WT)
                               1. คู่แข่งขันในธุรกิจทางการศึกษามีจ านวนมากขึ้น  1. มหาวิทยาลัยวางแผนสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายทางวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศในการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และ การพัฒนางานวิจัยต่าง ๆ เพื่อให้เป็น 1. มหาวิมหาวิทยาลัยวางแผนสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศทางวิชาการเพื่อจัดการเรียน
                               2. การปรับเปลี่ยนนโยบายของรัฐบาล การปรับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย  ที่ยอมรับและสร้างการรู้จักในวงกว้างมากยิ่งขึ้น  (S2, S3, T2)  การสอนร่วมกัน เช่น โดยใช้ภาษาอังกฤษในหลักสูตรที่หลากหลายมากขึ้น และร่วมพัฒนาหลักสูตรแบบ
                               3. การปรับเปลี่ยนรูปแบบของกระทรวงท าให้เกิดผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน กระบวนการท างานของมหาวิทยาลัย  2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีและแอปพลิเคชัน (Application) ที่เอื้อต่อการท างานให้ครอบคลุมทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย เช่น ระบบบริหารการเงินและงบประมาณ ระบบงานวิจัย ฯลฯ  Joint Degree และ Double Degree ตามศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยมีความเชี่ยวชาญ (W2, T1)
                               4. ไม่มีเส้นทางเดินรถประจ าทางผ่านมหาวิทยาลัย  (S10, T6)                                                        2. มหาวิทยาลัยวางแผนการบริการวิชาการแบบหารายได้ในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้สอดคล้องกับการ
                               5. รัฐบาลให้การสนับสนุนงบประมาณด้านวิชาการ วิจัย บริการวิชาการ และกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในบางเรื่อง   3. มหาวิทยาลัยเตรียมความพร้อมในการจัดสิ่งอ านวยความสะดวกและห้องปฏิบัติการที่เหมาะสมกับความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในแต่ละสาขาวิชาและศักยภาพทางด้านกีฬาของนิสิต (S1,  เปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิตวิถีใหม่ (W4, T6)
                               ไม่ครอบคลุมมหาวิทยาลัยเอกชน                    S13, T7)
                               6. ปัญหา Covid – 19 ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงาน และการจัดกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกของมหาวิทยาลัย  4. มหาวิทยาลัยมีระบบดูแลนิสิตในด้านค่าใช้จ่ายทางการศึกษา เพื่อช่วยเหลือนิสิตที่ได้รับผลกระทบจากระบบเศรษฐกิจ และปัญหา Covid-19 ให้สามารถศึกษาต่อได้อย่างต่อเนื่องต่อไป
                               7. การชะลอตัวของระบบเศรษฐกิจในประเทศส่งผลกระทบต่ออัตราการจ้างงานและค่าครองชีพของนิสิตและครอบครัว  (S2, S3, T2)

                               8. ประชากรในกลุ่มวัยเรียนน้อยลง
                                                                                                                                                                               14
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26