Page 24 - แผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะยาว 10 ปี
P. 24

ั
                      7. พฒนาบัณฑิตให้มีทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy และมีสมรรถนะเชิงวิชาชีพ
               โดยจัดการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการท างาน โดยการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการมีสหกิจในทุก
               หลักสูตร ให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทร่วมจัดการศึกษา

                                                                                                 ุ
                      8. พัฒนาสมรรถนะ ความรอบรู้และทักษะของนิสิตตามวิสัยทัศน์ของการพัฒนาประเทศมีคณลักษณะ
               ขั้นต่ าของการเป็นผู้เรียนรู้ (Learner) ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Co-creator) และพลเมืองที่เข้มแข็ง
               (Active citizen) และมีทักษะในการท างานทั้ง ทักษะด้านความรู้ (Hard Skill) และทักษะด้านอารมณ์ (Soft

               Skill) โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ (Active Learning) เพื่อให้ผู้เรียนได้มีส่วน

               ร่วมและมีปฏิสัมพนธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความ
                               ั
               คิดเห็น และการท ากรณีศึกษา เป็นต้น

                      9. เพมห้องปฏิบัติการตรงตามเป้าหมายการผลิตบัณฑิตทุกสาขาวิชาและพฒนาห้องเรียนอจฉริยะ
                                                                                                    ั
                           ิ่
                                                                                      ั
               (Smart Classroom)
                                                                                                ิ่
                      10. ทุกหลักสูตรในมหาวิทยาลัยมีการเรียนการสอนที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เพมทักษะการ
               เรียนรู้ตลอดชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก และสอดคล้องกับจรรยาบรรณในวิชาชีพของแต่

               ละหลักสูตร
                      11. จัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียนเพื่อพัฒนานิสิตให้มีทักษะในศตวรรษท 21 มีทักษะการเรียนรู้
                                                                                       ี่
                                                ั
               ตลอดชีวิต มีคุณลักษณะสอดคล้องกับอตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และมีคุณลักษณะของการเป็นพลเมืองโลก
               (Global Citizen) โดยพัฒนาระบบสารสนเทศและพัฒนาเทคโนโลยี/สื่อการเรียนรู้ไปสู่รูปแบบการเรียนรู้อย่าง
               ชาญฉลาด (Smart Learning) ที่สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long Learning) ทั้งในชั้นเรียนและการ

               เรียนรู้ด้วยตัวเองนอกห้องเรียน

                       12. จัดโครงการ/กิจกรรมที่เสริมสร้างพฒนาบัณฑิตให้เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง มีความรับผิดชอบต่อ
                                                        ั
               ตนเอง ต่อสังคม ประเทศชาติ และโลก มีความกล้าหาญทางจริยธรรม ยึดมั่นในความถูกต้อง เสริมสร้างสันติ

               สุข มีความสุขในการด ารงชีวิต และการประกอบอาชีพ

                       13. พฒนาความรู้ ทักษะ และสมรรถนะเชิงวิชาชีพตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานผ่านการ
                            ั
               จัดการศึกษาในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการท างาน (Work Integrated

               Learning: WIL) โดยการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ หรือการฝึกปฏิบัติสหกิจศึกษาในทุกหลักสูตร

                                                                        ึ
               โดยให้ภาคเอกชนและสถานประกอบการเข้ามามีบทบาทร่วมจัดการศกษาในการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
                       14. เปิดหลักสูตรใหม่ที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานทุกระดับคุณวุฒิ มีระบบและ

               ทรัพยากรการเรียนรู้เสมือนส าหรับผู้เรียนเจนเนอเรชั่น C และเจนเนอเรชั่น Z ที่สามารถใช้งานได้กับ

               เทคโนโลยีการสื่อสาร ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่มีรูปแบบการเรียนรู้ด้วย
               ตนเองมากขึ้น

                       15. มหาวิทยาลัยมีทรัพยากรที่เออต่อการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพฒนาหลักสูตร
                                                                                             ั
                                                    ื้
               พัฒนาการเรียนการสอน







               แผนพัฒนามหาวิทยาลัยราชพฤกษ์  ระยะยาว 10 ปี (RPU PLAN 2562 – 2571)                    หน้า 21
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29